งานวิจัยบนพื้นที่สูง

สืบสาน รักษา ต่อยอด ข้าวพื้นที่สูง
บทความงานวิจัย
“ข้าว” เป็นวิถีชีวิตในการดำรงชีพของชนเผ่าปกาเกอญอ เพราะมีความเชื่อว่า “ข้าว” เป็นสิ่งที่มีคุณค่าและมีจิตวิญญาณ

การปลูกกัญชงภายใต้ระบบควบคุม
บทความงานวิจัย
ผู้ได้รับอนุญาตต้องปลูกกัญชงในสถานที่ที่กำหนดไว้ในหนังสือสำคัญเท่านั้น เมล็ดพันธุ์รับรองที่ได้ขึ้นทะเบียนพันธุ์กับกรมวิชาการเกษตร

ขออนุญาตปลูกกัญชง ทำอย่างไร?
บทความงานวิจัย
การปลูกกัญชง (Hemp) อย่างถูกต้องตามกฎหมายนั้น ต้องได้รับอนุญาตจากกระทรวงสาธารณสุขก่อนการปลูกเสมอ ไม่มีการยกเว้น ไม่มีปลูกอย่างเสรี

ด้วงงวงมันเทศ
บทความงานวิจัย
ด้วงงวงมันเทศ เป็นแมลงศัตรูสำคัญของมันเทศ โดยตัวเต็มวัยจะทำลายทุกส่วนของพืช

พันธุ์กัญชงกับเมล็ดพันธุ์รับรองตามกฎหมาย
บทความงานวิจัย
เมล็ดพันธุ์เฮมพ์จากพันธุ์พืชที่มีปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล (Tetrahydrocannabinol, THC) น้อยกว่าร้อยละ 1.0 ต่อน้ำหนักแห้ง

“ไม้จันทน์หอม” ความหอมจากธรรมชาติที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์
บทความงานวิจัย
เนื้อไม้สีน้ำตาลอ่อน แก่นสีน้ำตาลเข้ม เสี้ยนตรง เนื้อละเอียด เลื่อย ไสกบ ตบแต่งง่าย มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว แม้จะเป็นไม้สด เมื่อนำไปเลื่อยมีกลิ่นหอมชัดเจน

แนวทางการใช้เห็ดป่า....แก้ปัญหาฝุ่นควันไฟป่า
บทความงานวิจัย
จากปัญหาฝุ่นควันไฟป่าที่เกิดขึ้นในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย มักจะถูกสังคมมองว่าเกิดจากการเก็บหาของป่า

“เจ้าแตรวง” ดอกไม้จากผืนป่าสู่การพัฒนาเป็นไม้กระถาง
บทความงานวิจัย
เป็นไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 2 เมตร มีหัวใต้ดินขนาด 5-6 เซนติเมตร ลักษณะหัวมีกลีบย่อยโดยรอบ ประมาณ 50 กลีบต่อหัว เนื้อในสีขาวอมเหลือง

ทั่วถึงและเท่าเทียม Leaving No one in Highlands Behind
บทความงานวิจัย
การลดความเหลื่อมล้ำเป็นวาระสำคัญของการพัฒนาในระดับสากลที่องค์การสหประชาชาติกำหนดเป็นเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนลำดับที่ 10

นวัตกรรมการปลูกองุ่นบนพื้นที่สูงสำหรับเกษตรกรผู้สูงอายุ
บทความงานวิจัย
องุ่นเป็นไม้ผลทางเลือกที่สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูงส่งเสริมให้เกษตรกรบนพื้นที่สูงปลูกเป็นอาชีพ เพราะเป็นพืชที่ให้ผลตอบแทนต่อพื้นที่สูง

เห็ดป่า.....หาได้ทุกปี..ไม่มีลด?
บทความงานวิจัย
หากเราเพาะกล้าไม้และเติมเชื้อเห็ดแล้วนำไปปลูกทุกปี เมื่อเห็ดเริ่มมีเห็ดออกครั้งแรกแล้วเราจะสามารถเก็บเห็ดได้ต่อเนื่องทุกปี

ชีวิตสังคมผึ้งบ่งบอกความอุดมสมบูรณ์ของป่า
บทความงานวิจัย
ผึ้งมีความสำคัญ ในระบบนิเวศทางธรรมชาติเพราะ ผึ้ง เป็นตัวแพร่กระจายเกสรพืช ช่วยทำให้เกิดการผสมพันธุ์ของพืชในป่าและในการเกษตร

กัญชง (เฮมพ์) กับ กัญชา ต่างกันอย่างไร?
บทความงานวิจัย
เฮมพ์และกัญชา อยู่ในสกุล (genus) และชนิด (species) เดียวกัน ต่างกันที่ ชนิดย่อย (subspecies)

การผลิตหัวพันธุ์กระเทียมโดยลดการใช้ปุ๋ยเคมี
บทความงานวิจัย
กระเทียมเป็นพืชสมุนไพรที่นิยมนำมาใช้เป็นส่วนประกอบในอาหารไทย โดยปลูกมากในพื้นที่ภาคเหนือซึ่งมีอากาศหนาวเย็นเหมาะสมกับการปลูกกระเทียม

การปรับปรุงดินบนพื้นที่สูง
บทความงานวิจัย
ดินเป็นทรัพยากรที่สำคัญต่อการเกษตร เนื่องจากดินเป็นปัจจัยในการดำรงชีวิตของพืช โดยทั่วไปดินที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช

ผลิตภัณฑ์สารชีวภาพสำหรับควบคุมแมลงศัตรูพืช พีพี-เมทา และพีพี-ฟีโร
บทความงานวิจัย
ชีวภัณฑ์ผง “พีพี-เมทา” ที่ผลิตจากเชื้อราสายพันธุ์ดี ส่วนสารล่อผีเสื้อหนอนใยผัก “พีพี-ฟีโร” เป็นผลิตภัณฑ์รูปแบบใหม่ที่เกษตรกรใช้ได้ง่าย

ภูมิปัญญาการใช้ประโยชน์พืชท้องถิ่น มะเขาควาย
บทความงานวิจัย
มะเขาควาย ถือเป็นโอกาสการสร้างเศรษฐกิจชุมชน จากฐานชีวภาพของชุมชนบนพื้นที่สูง ซึ่งปัจจุบันนอกจากชุมชนจะนำมารับประทานสด

การจัดการธาตุอาหารเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวไร่ในพื้นที่ขยายผลโครงการหลวงแม่สอง
บทความงานวิจัย
ประชากรส่วนใหญ่เป็นชนเผ่าปกาเกอะญอ ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเพื่อสร้างรายได้หลัก เช่น การปลูกข้าว และเลี้ยงโค กระบือ