งานวิจัยบนพื้นที่สูง

ว่านสี่ทิศตัดดอกจะตัดระยะไหนดี
ว่านสี่ทิศตัดดอกจะตัดระยะไหนดี
บทความงานวิจัย

อายุหรือระยะของดอกไม้สำหรับการตัด มีความสำคัญสำหรับดอกไม้ทุกชนิด การตัดดอกไม้ในช่วงอายุที่เหมาะสมจะช่วยรักษาคุณภาพของดอกไม้ได้มากและเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ดอกไม้ ส่วนมากจะตัดดอกไม้ในขณะที่ดอกยังตูมหรือเริ่มบานบางส่วน

การจัดการปุ๋ยเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวนาบนพื้นที่สูง
การจัดการปุ๋ยเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวนาบนพื้นที่สูง
บทความงานวิจัย

การจัดการปุ๋ยเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวนาบนพื้นที่สูง พื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่สูงในภาคเหนือ มีระดับความสูงตั้งแต่ 500-มากกว่า 1,000 เมตรจากระดับน้ำทะเล มีชุมชนที่ทำนาเป็นหลักหลากหลายชุมชน ซึ่งมีทั้งชุมชนที่เป็นคนไทยพื้นเมือง ชนเผ่ากะเหรี่ยงหรือปกาเกอะญอ และชนเผ่าลั๊วะ เป็นต้น ข้าวนาเป็นพืชอาหารที่สำคัญของชุมชนบนพื้นที่สูง โดยเกษตรกรจะปลูกข้าวไว้สำหรับบริโภค เป็นการสร้างความมั่นคงด้านอาหารของครัวเรือน พันธุ์ข้าวที่ปลูกบนพื้นที่สูงส่วนใหญ่คือพันธุ์ท้องถิ่นหรือพันธุ์พื้นเมือง (Local variety) โดยปลูกข้าวปีละครั้ง อาศัยน้ำฝนเป็นหลัก (ฤดูนาปี) พื้นที่ปลูกข้าวนาส่วนใหญ่เป็นนาขั้นบันไดขนาดเล็กระหว่างหุบเขา ทำให้พื้นที่ที่เหมาะสมกับการปลูกข้าวมีจำกัด ผลผลิตต่อพื้นที่ต่ำ จากการสำรวจพบว่านอกจากปัญหาโรคและแมลงแล้วยังมีปัญหาเรื่องดินเสื่อมโทรม และเมล็ดข้าวลีบ บางชุมชนต้องซื้อข้าวมาบริโภค เกษตรกรจึงหาทางแก้ปัญหาเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวโดยการใส่ปุ๋ย โดยเกษตรกรไม่รู้เลยว่าปุ๋ยที่ซื้อมาใส่นั้น เหมาะสมกับพื้นที่นาของตัวเองหรือไม่ ทำให้การใช้ปุ๋ยไม่เกิดประสิทธิภาพและเป็นการเพิ่มต้นทุนโดยไม่จำเป็น จากการเก็บตัวอย่างดินในพื้นที่ปลูกข้าวนาในพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง 17 แห่ง ไปวิเคราะห์สมบัติดินและปริมาณธาตุอาหารในดิน พบว่าดินที่ปลูกข้าวนาบนส่วนใหญ่เป็นกรดรุนแรงมาก–กรดจัด ในขณะที่(<3.5 - 5.5) มีปริมาณอินทรียวัตถุสูง (>2.5 %) มีปริมาณโพแทสเซียม แคลเซียม และแมกนีเซียมสูง ในขณะที่มีปริมาณฟอสฟอรัส ทองแดง สังกะสีและโบรอนต่ำ ซึ่งการขาดธาตุอาหารดังกล่าวมีผลต่อการเจริญเติบโต และการติดเมล็ดของข้าวซึ่งเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้ข้าวเมล็ดลีบ จากการทดสอบการจัดการปุ๋ยข้าวนาแบบชุมชนมีส่วนร่วม (community participatory research) ในแปลงนาของเกษตรกรในพื้นที่โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง 4 แห่ง ได้แก่โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงบ่อเกลือ จ.น่าน โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงปางหินฝน แม่มะลอ และผาแตก จ.เชียงใหม่ การจัดการปุ๋ยข้าวนาสามารถทำได้ 2 วิธี

“สวนวนเกษตร” แหล่งธนาคารอาหารชุมชนป่าเมี่ยง
“สวนวนเกษตร” แหล่งธนาคารอาหารชุมชนป่าเมี่ยง
บทความงานวิจัย

ชุมชนป่าเมี่ยง เป็นชุมชนเล็กๆ กระจายตัวอยู่บนพื้นที่สูงล้อมรอบไปด้วยป่าและแหล่งต้นน้ำที่อุดมสมบูรณ์ ชาวป่าเมี่ยงมีวิถีชีวิตที่เรียบง่ายอยู่กับธรรมชาติ มีอาชีพหลักคือการทำสวนวนเกษตร ที่มุ่งเน้นการปลูกเมี่ยงผสมผสานกับไม้ป่า ไม้ผล พืชผัก พืชสมุนไพร และไม้ใช้สอยต่างๆ ที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต ช่วยสร้างรายได้ และรักษาสมดุลของระบบนิเวศ

การฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดินในพื้นที่ปลูกข้าวไร่ : ถั่วลอด
การฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดินในพื้นที่ปลูกข้าวไร่ : ถั่วลอด
บทความงานวิจัย

จากวิถีการปลูกข้าวไร่แบบหมุนเวียนของชาวปกาเกอะญอ สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง ได้มาปรับการทดสอบเพื่อให้เกษตรกรได้เห็นถึงการใช้ประโยชน์ที่ดินโดยไม่ต้องหมุนเวียนพื้นที่ปลูกข้าวไร่ทุกปี

เมื่อชีวิตขาดหวานไม่ได้ แนะนำสารจากธรรมชาติ “หญ้าหวาน”
เมื่อชีวิตขาดหวานไม่ได้ แนะนำสารจากธรรมชาติ “หญ้าหวาน”
บทความงานวิจัย

ความหวานเป็นรสชาติที่หลายคนขาดไม่ได้ ดังคำภาษิตที่ว่า “กินคาวไม่กินหวาน..สันดานไพร่” และความหวานก็เป็นตัวการที่คอยทำลายสุขภาพ วันนี้จึงขอแนะนำให้รู้จักกับสมุนไพรตัวหนึ่งที่มีชื่อว่า หญ้าหวาน

มหัศจรรย์ผึ้งบนพื้นที่สูง
มหัศจรรย์ผึ้งบนพื้นที่สูง
บทความงานวิจัย

สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง หรือ สวพส. ได้ส่งเสริมให้เกษตรกรบนพื้นที่สูงปลูกกาแฟและไม้ผลหลายชนิด การเลี้ยงผึ้งและชันโรงควบคู่กับการปลูกพืช ที่นอกจากจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผสมเกสรทำให้มีปริมาณผลผลิตที่มากแล้ว เกษตรกรสามารถเก็บน้ำผึ้งที่ได้จากการเลี้ยงผึ้งและชันโรง ซึ่งน้ำผึ้งมีกลิ่นและรสชาติที่เป็นเอกลักษณ์ สามารถเป็นอาชีพเสริมสร้างรายได้ที่มั่นคงและยั่งยืนได้

โด่ไม่รู้ล้ม : สมุนไพรกับผู้สูงอายุ
โด่ไม่รู้ล้ม : สมุนไพรกับผู้สูงอายุ
บทความงานวิจัย

การหย่อนสมรรถภาพทางเพศ (Erectile Dysfunction) สามารถเกิดได้กับผู้ชายในช่วงวัยใดก็ได้ แต่มักพบมากขึ้นตามอายุที่เพิ่มขึ้น ด้วยหลายสาเหตุทั้งทางร่างกายและจิตใจ เช่น การเปลี่ยนแปลงด้านฮอร์โมน

ใครว่าร้อนแล้ง....จะเลวร้ายที่คลองลาน
ใครว่าร้อนแล้ง....จะเลวร้ายที่คลองลาน
บทความงานวิจัย

การวิจัยนี้ไม่เพียงแต่สร้างความรู้ใหม่และรายได้แก่เกษตรกรในอนาคต แต่เป็นการวิจัยที่เกิดจากการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างนักวิจัย นักพัฒนา และเกษตรกร เพื่อพัฒนาระบบเกษตรในชุมชน เป็นการสร้างต้นแบบของการดำรงชีพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่ให้ความสำคัญกับความสมดุลของระบบนิเวศ และการใช้วัสดุเกษตรแบบหมุนเวียนภายในฟาร์มเชื่อมโยงกันจนเป็นห่วงโซ่ (Circular Agriculture) อันนำไปสู่การพัฒนาระบบเศรษฐกิจฐานรากได้อย่างยั่งยืน

พืชผักพื้นบ้านบนพื้นที่สูง  เสริมภูมิคุ้มกัน (Immune Booster) เพิ่มความแข็งแรงให้กับร่างกาย ห่างไกลโรค COVID-19
พืชผักพื้นบ้านบนพื้นที่สูง เสริมภูมิคุ้มกัน (Immune Booster) เพิ่มความแข็งแรงให้กับร่างกาย ห่างไกลโรค COVID-19
บทความงานวิจัย

ภูมิต้านทานคืออะไร ภูมิต้านทานทำหน้าที่อะไร พืชผักพื้นบ้านบนพื้นที่สูง เสริมภูมิคุ้มกัน เพิ่มความแข็งแรงให้กับร่างกาย ห่างไกลโรค COVID 19 ได้อย่างไร

ลดรอบการปลูกข้าวไร่ด้วยระบบการปลูกข้าวหมุนเวียนพื้นที่กับพืชตระกูลถั่ว
ลดรอบการปลูกข้าวไร่ด้วยระบบการปลูกข้าวหมุนเวียนพื้นที่กับพืชตระกูลถั่ว
บทความงานวิจัย

ปัจจุบันการทำข้าวไร่หมุนเวียนยังมีการดำเนินการอยู่แต่ลดรอบเหลือ 1 – 3 ปี หรือบางพื้นที่ไม่มีการหมุนเวียนพื้นที่โดยจะทำการปลูกซ้ำที่เดิม โดยสาเหตุเนื่องมาจากประชากรมีปริมาณเพิ่มขึ้นมีการใช้พื้นที่ทำการเกษตรเพิ่มขึ้น

พืชผักพื้นบ้านชาวมอญ สะท้อนวิถีชีวิต กับแนวคิดกินอาหารให้เป็น “ยา”
พืชผักพื้นบ้านชาวมอญ สะท้อนวิถีชีวิต กับแนวคิดกินอาหารให้เป็น “ยา”
บทความงานวิจัย

ชาวมอญนับว่าเป็นกลุ่มชาติพันธุ์หนึ่งที่มีเอกลักษณ์ของอาหารที่โดดเด่นและยังคงสืบทอดกันอยู่ในวิถีชีวิตประจำวัน เอกลักษณ์อาหารมอญที่เห็นได้ชัดนั่นก็คือ ชาวมอญมักจะนำพืชท้องถิ่นหรือสิ่งที่มีอยู่ในธรรมชาติมาประกอบอาหาร

การแปรรูปเฮมพ์เชิงอุตสาหกรรม
การแปรรูปเฮมพ์เชิงอุตสาหกรรม
บทความงานวิจัย

เฮมพ์เป็นพืชเศรษฐกิจตัวใหม่ได้เพราะสามารถใช้ประโยชน์ได้จากทุกส่วนของเฮมพ์ โดยเมล็ดนำไปใช้ประโยชน์ทางอาหารสุขภาพและเครื่องสำอาง ช่อดอกและใบนำมาสกัดสารสำคัญเพื่อใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ ส่วนเปลือกนำมาใช้ในอุตสาหกรรมสิ่งทอ และแกนนำมาใช้ในการทำวัสดุก่อสร้าง


ทั้งหมด 148 รายการ