งานวิจัยบนพื้นที่สูง

แบคทีเรียดี...มีประโยชน์
แบคทีเรียดี...มีประโยชน์
บทความงานวิจัย

"แบคทีเรียดี...มีประโยชน์” “สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมาก” ที่ไม่ควรมองข้าม แบคทีเรียเป็นสิ่งมีชีวิตกลุ่มใหญ่กลุ่มหนึ่งที่ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า พบทั่วไปในธรรมชาติ ดิน น้ำ และอากาศ ส่วนใหญ่มีรูปร่างกลม (Cocci) แท่ง (Bacilli, Rod) และเกลียว (Spiral) มีเซลล์เดียวและโครงสร้างไม่ซับซ้อน

ตะไคร้ต้น เครื่องเทศจากยอดดอยสู่ผลิตภัณฑ์สมุนไพร
ตะไคร้ต้น เครื่องเทศจากยอดดอยสู่ผลิตภัณฑ์สมุนไพร
บทความงานวิจัย

สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) ได้ทำการศึกษา รวบรวมภูมิปัญญาและการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพบนพื้นที่สูง จากการศึกษาพบว่า ตะไคร้ต้นเป็นพืชท้องถิ่นบนพื้นที่สูงอีกชนิดหนึ่งที่มีศักยภาพสามารถนำมาพัฒนาต่อยอดใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ได้

“ดงเซ้ง” ภูมิปัญญาการรักษาป่าของชุมชนม้ง
“ดงเซ้ง” ภูมิปัญญาการรักษาป่าของชุมชนม้ง
บทความงานวิจัย

พิธีไหว้ดงเซ้ง จึงเป็นพิธีกรรมระดับชุมชนที่เป็นศูนย์รวมของคนในหมู่บ้าน แต่ละครอบครัวจะช่วยกันจัดเตรียมเครื่องเซ่นไหว้ ประกอบด้วย ธูปเทียน เหล้า น้ำอัดลม หมูดำตัวผู้ หรือไก่ตัวผู้และตัวเมีย 1 คู่ รวมถึงกระดาษเงินกระดาษทองสำหรับเผาให้เจ้าที่ตามจำนวนที่ได้บนบานไว้ในปีที่ผ่านมา

รู้หรือไม่?…“ลูกชิด” มาจากไหน
รู้หรือไม่?…“ลูกชิด” มาจากไหน
บทความงานวิจัย

ลูกชิดมาจากต้นตาวหรือต้นต๋าว ส่วนลูกจากมาจากต้นจาก เดิมพืชทั้งสองชนิดนี้ถูกจัดแบ่งอยู่ในวงศ์ที่แตกต่างกัน โดยต๋าวจัดอยู่ในวงศ์ PALMACEAE หรือ PALMAE ส่วนจากอยู่ในวงศ์ NYPACEAE แต่ปัจจุบันพืชทั้งสองชนิดถูกจัดอยู่ในวงศ์เดียวกัน คือ ARECACEAE

อาวุธลับปราบเชื้อโรคในดิน
อาวุธลับปราบเชื้อโรคในดิน
บทความงานวิจัย

พีพี-สเตร็บโต เป็นอีกผลิตภัณฑ์ที่มีคุณสมบัติพิเศษโดยเชื้อจุลินทรีย์ที่เป็นส่วนประกอบหลักสามารถผลิตสารปฏิชีวนะ (antibiotics) ชื่อ สเตรปโตมัยซิน ซึ่งมีฤทธิ์กำจัดเชื้อราพิเทียมสาเหตุโรครากเน่าโคนเน่า (damping off disease) ได้สูงถึง 80 เปอร์เซ็นต์ ใกล้เคียงกับการใช้สารเคมี ในขณะเดียวกันยังกระตุ้นให้ต้นพืชสร้างรากมากขึ้น ช่วยเพิ่มการดูดซึมและลำเลียงแร่ธาตุ จึงเจริญเติบโตเร็วและแข็งแรงกว่าเดิม

การฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดินในแปลงนาขั้นบันได
การฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของดินในแปลงนาขั้นบันได
บทความงานวิจัย

จากการเก็บตัวอย่างดินในแปลงนาขั้นบันไดซึ่งเป็นแปลงที่ปลูกข้าวไร่มาก่อน ไปวิเคราะห์สมบัติดินและปริมาณธาตุอาหารในดิน พบว่าส่วนใหญ่ดินเป็นดินเหนียว มี pH 4.76 – 5.36 ซึ่งเป็นกรดจัดมาก ปริมาณอินทรียวัตถุปานกลาง ปริมาณธาตุอาหารต่ำโดยเฉพาะธาตุอาหารหลัก

ยาดมเขย่า บ้านแม่มะลอ
ยาดมเขย่า บ้านแม่มะลอ
บทความงานวิจัย

การพัฒนาต่อยอดภูมิปัญญาการใช้ประโยชน์พืชสมุนไพรและยาพื้นบ้านของชุมชนบนพื้นที่สูง โดยหาแนวทางยกระดับพืชสมุนไพรท้องถิ่นต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์ชุมชน “ยาดมเขย่า”

เพิ่มคุณภาพชาดอกไม้อบแห้งด้วยเครื่องอบแห้งลมร้อนและ IOT  (EP.2)
เพิ่มคุณภาพชาดอกไม้อบแห้งด้วยเครื่องอบแห้งลมร้อนและ IOT (EP.2)
บทความงานวิจัย

การพัฒนากระบวนการอบแห้งในปัจจุบันนิยมทำในบริเวณที่ใกล้กับสถานที่เพาะปลูก เพื่อสามารถนำไปอบแห้งทันที ดังเช่นในพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงสะโงะ ที่เน้นส่งเสริมพืชสมุนไพร ได้แก่ เก็กฮวย คาโมมายล์ และพืชสมุนไพรต่างๆ โดยส่งเสริมให้เกษตรกรเพาะปลูกเพื่อการแปรรูปเป็นหลัก

พืชเศรษฐกิจใหม่ของพื้นที่สูง (EP.1)
พืชเศรษฐกิจใหม่ของพื้นที่สูง (EP.1)
บทความงานวิจัย

ดอกเก๊กฮวย และดอกคาโมมายล์มาแปรรูปเป็นชาดอกไม้อบแห้ง โดยการใช้เทคโนโลยีการอบแห้งซึ่งมีความสำคัญต่อกระบวนการแปรรูปเป็นอย่างมากในการลดปริมาณน้ำออกจากผลิตผล

พืชกันไฟ
พืชกันไฟ
บทความงานวิจัย

การทำแนวกันไฟ (Firebreak) ในพื้นที่ป่าต้นน้ำของชุมชนบนพื้นที่สูง เพื่อป้องกันและลดความเสียหายเมื่อเกิดเหตุการณ์ไฟป่า โดยวิธีการกำจัดเชื้อเพลิงที่ทำให้เกิดไฟป่า เช่น ใบไม้ กิ่งไม้ โดยกำจัดเชื้อเพลิงออกไปทั้งหมดจนถึงพื้นดิน ทำเป็นแนวกว้างไม่น้อยกว่า 8 เมตร ตามลักษณะภูมิประเทศ

ทำความรู้จักกับถั่วลอด : ประโยชน์และคุณค่าทางโภชนาการ
ทำความรู้จักกับถั่วลอด : ประโยชน์และคุณค่าทางโภชนาการ
บทความงานวิจัย

ถั่วลอดยังสามารถนำมาเป็นอาหารและจำหน่ายได้ในชุมชน ทั้งในรูปฝักอ่อน ฝักแก่ และเมล็ด เช่น ฝักสดต้มกินกับน้ำพริก ตำถั่ว เมล็ดใช้ประกอบอาหารเช่นเดียวกับถั่วดำ เมื่อวิเคราะห์หาคุณค่าทางโภชนาการของถั่วลอดฝักสดที่ปลูกร่วมในพื้นที่ปลูกข้าวไร่และข้าวโพด

หอมญี่ปุ่น ใส่ปุ๋ยอะไรดี
หอมญี่ปุ่น ใส่ปุ๋ยอะไรดี
บทความงานวิจัย

หอมญี่ปุ่น หรือ ต้นหอมยักษ์ เป็นพืชที่เราเคยเห็นในเมนูอาหารต่างๆ ได้แก่ สุกี้ยากี้ เนื้อย่าง หอมญี่ปุ่นผัดไข่ หอมญี่ปุ่นชุบแป้งทอด หรือในน้ำซุป เป็นต้น โดยเรานิยมบริโภคเฉพาะตรงส่วนลำต้นที่เป็นสีขาวซึ่งมีกลิ่นหอม และรสหวาน

ปลูกองุ่นปลอดภัย ต้องทำอย่างไร...
ปลูกองุ่นปลอดภัย ต้องทำอย่างไร...
บทความงานวิจัย

การปลูกองุ่นในประเทศไทยสามารถให้ผลผลิตที่มีคุณภาพได้ แต่ไทยเป็นประเทศที่อยู่ในเขตร้อนชื้น จึงมักพบโรคและแมลงศัตรูที่สำคัญที่สร้างความเสียหายให้กับองุ่น เช่น โรคราน้ำค้าง โรคราแป้ง โรคแอนแทรคโนส เพลี้ยไฟ เพลี้ยแป้ง และหนอนกระทู้ เป็นต้น

ชอบกินอะไร...ก็ทดลองปลูกสิ่งนั้น
ชอบกินอะไร...ก็ทดลองปลูกสิ่งนั้น
บทความงานวิจัย

“ชอบกินอะไรก็ปลูกสิ่งนั้น” แนวคิดและคำพูดของพ่อ หรือ นายโอด โขงทอง ปัจจุบันอายุ 68 ปี เกษตรกรบ้านต้นผึ้ง ในโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงโป่งคำ ตำบลพงษ์ อำเภอสันติสุข จังหวัดน่าน ที่ได้สอนและบอกลูกสาว หรือ นางดาวิภา อิทธิรัตน์ ปัจจุบันอายุ 39 ปี ซึ่งผันชีวิตตนเองจาก การทำงานในกรุงเทพฯ กลับมาอยู่บ้านช่วยเหลือกิจกรรมในหมู่บ้าน ปัจจุบันได้ทำงานเป็นผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านและทำเกษตรผสมผสานตามรอยพ่อ


ทั้งหมด 148 รายการ