งานวิจัยบนพื้นที่สูง

“เจีย” พืชเศรษฐกิจใหม่บนพื้นที่สูง
“เจีย” พืชเศรษฐกิจใหม่บนพื้นที่สูง
บทความงานวิจัย

เจีย (Chia Seeds) อยู่ในกลุ่มเดียวกับกระเพรา โหรพา แมงลัก เป็นพืชล้มลุกที่มีอายุเพียงฤดูเดียว มีถิ่นกำเนิดอยู่ทวีปอเมริกาเหนือแทบประเทศเม็กซิโก - กัวเตมาลา ชาวเม็กซิโกและโบลิเวียนิยมรับประทานเป็นอาหารนานกว่า 5,000 ปี

3 ข้อควรรู้ ก่อนปลูกผักอินทรีย์
3 ข้อควรรู้ ก่อนปลูกผักอินทรีย์
บทความงานวิจัย

3 ข้อควรรู้ ก่อนปลูกผักอินทรีย์ ที่ควรรู้และทำความเข้าใจก่อนเริ่มปลูกผักอินทรีย์ ไม่ใช่สารเคมีสังเคราะห์ใดๆ ในทุกขั้นตอนการผลิต ช่วยให้สุขภาพของเกษตรกรดีขึ้น ไม่ต้องเสี่ยงกับการได้รับสารเคมี และยังช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม ลดมลภาวะทั้งทางดิน น้ำ และอากาศ

เทคนิคการปลูกมันเทศญี่ปุ่นในฤดูฝน
เทคนิคการปลูกมันเทศญี่ปุ่นในฤดูฝน
บทความงานวิจัย

ปัญหาสำคัญของการปลูกมันเทศในฤดูฝน (พฤษภาคม - ตุลาคม) ต้นมันเทศมักแสดงอาการเฝือใบ คือ มีการเจริญเติบโตทางส่วนยอดและใบมาก ลงหัวน้อย ส่งผลให้ผลผลิตต่ำ และหัวมีขนาดเล็ก อาการบ้าใบหรือเฝือใบ เกิดจากพืชได้รับธาตุไนโตรเจนมากเกินไป ซึ่งไนโตรเจน คือ สารอาหารกลุ่มสร้างใบ-บำรุงต้น ได้มาจาก ปุ๋ยไนโตรเจน และน้ำ (รดน้ำ น้ำฝน น้ำใต้ดิน น้ำค้าง ความชื้นสัมพัทธ์ ฯลฯ)

“ทำไมถึงต้องมีแบรนด์”
“ทำไมถึงต้องมีแบรนด์”
บทความงานวิจัย

แบรนด์ หรือเครื่องหมายการค้า คือ เครื่องหมายที่ใช้เป็นที่หมายเกี่ยวข้องกับสินค้าเพื่อแสดงว่าสินค้าที่ใช้เครื่องหมายนั้นแตกต่างกับสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่น กรมทรัพย์สินทางปัญญา (2559) โดยการสร้างแบรนด์ต้องอาศัยองค์ประกอบด้วยกัน 3 ส่วน คือ การสร้างสรรค์ การคุ้มครอง และการใช้ประโยชน์

เขาเผาทิ้ง เราเผาใช้ แถมได้เงิน
เขาเผาทิ้ง เราเผาใช้ แถมได้เงิน
บทความงานวิจัย

ชุมชนบ้านศรีบุญเรืองตระหนักและเล็งเห็นถึงคุณค่าของซังข้าวโพด ประกอบกับได้รับการสนับสนุนองค์ความรู้จากสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) ตั้งแต่กระบวนการเผาแบบไร้ควัน การผลิตภัณฑ์ถ่านอัดแท่งจากซังข้าวโพด และการเพิ่มมูลค่าถ่านโดยการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ถ่านดูดกลิ่น ให้เป็นสินค้าทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาของชุมชน

ทีบอ ภูมิปัญญาการจัดการน้ำบนพื้นที่สูงของชุมชนกะเหรี่ยง
ทีบอ ภูมิปัญญาการจัดการน้ำบนพื้นที่สูงของชุมชนกะเหรี่ยง
บทความงานวิจัย

ฝายทดน้ำที่ทำจากวัสดุธรรมชาติ ได้แก่ ก้อนหิน ท่อนไม้ และไม้ไผ่ วางเป็นชั้นขัดกันสลับไปมาโดยใช้ไม้หลักเป็นตัวยึด เพื่อช่วยยกระดับน้ำให้สูงขึ้นและเบี่ยงทางน้ำสายหลักให้ไหลลงสู่ทีบอโกลที่จะนำน้ำไปยังนาขั้นบันได ซึ่งฝายยังมีประโยชน์ในการช่วยชะลอการไหลของน้ำ กักเก็บตะกอน เพิ่มความชื้น และเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำขนาดเล็กด้วย

“แมลงบั่ว” ศัตรูตัวฉกาจของข้าว
“แมลงบั่ว” ศัตรูตัวฉกาจของข้าว
บทความงานวิจัย

แมลงบั่ว (Oseolia oryzae , Wood-Mason/gall midge) เป็นแมลงศัตรูที่สำคัญของข้าวนาและข้าวไร่บนพื้นที่สูง ทำให้พันธุ์ข้าวท้องถิ่นเดิมที่เคยให้ผลผลิตสูงและนิยมบริโภคหรือกินอร่อย

พืชชูรส “เฮาะที”
พืชชูรส “เฮาะที”
บทความงานวิจัย

ชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยงมีการนำเฟิร์นที่ชาวบ้านเรียกว่า “เฮาะที” มาใช้ประโยชน์โดยการนำยอดอ่อน มาประกอบอาหารเช่น แกง ผัด หรือลวกกินกับน้ำพริก นอกจากนี้ยังใช้ปรุงแต่งรสชาติอาหารให้มีรสอร่อยขึ้นได้อีกด้วย จึงได้ศึกษาถึงศักยภาพและความเป็นไปได้ พบว่า เฮาะทีที่ชาวกะเหรี่ยงใช้ประโยชน์ในการปรุงแต่งรสชาติอาหารนั้นมีศักยภาพในการพัฒนาต่อยอดไปเป็นผลิตภัณฑ์ปรุงรสจากธรรมชาติ เพื่อทดแทนการใช้ผงชูรสซึ่งเป็นสารสังเคราะห์ และอาจก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพได้

“น้ำผึ้งโพรงคุณภาพ”
“น้ำผึ้งโพรงคุณภาพ”
บทความงานวิจัย

“ผึ้งโพรง” เป็นอาชีพทางเลือกให้แก่เกษตรกรบนพื้นที่สูง โดยสามารถเลี้ยงผึ้งควบคู่กับการปลูกพืช อีกทั้งสร้างรายได้จากการจำหน่ายน้ำผึ้ง การเลี้ยงผึ้งโพรงสิ่งที่ควรให้ความสำคัญยิ่งคือน้ำผึ้งสะอาดและมีคุณภาพ

พืชยึดดินบนพื้นที่สูง....รากนั้น สำคัญไฉน??
พืชยึดดินบนพื้นที่สูง....รากนั้น สำคัญไฉน??
บทความงานวิจัย

ราก…เป็นส่วนประกอบหนึ่งของพืช มีหน้าที่สำคัญ คือ ดูด (absorption) น้ำและแร่ธาตุจากดินเข้าไปในลำต้น ลำเลียง (conduction) น้ำและแร่ธาตุรวมทั้งอาหารซึ่งพืชสะสมไว้ในรากขึ้นสู่ส่วนต่างๆ ของลำต้น เป็นแหล่งสร้างฮอร์โมน (producing hormones) นอกจากนี้ ยังมีบทบาทสำคัญในการยึดเกาะ (anchorage) ลำต้นให้ติดกับพื้นดิน และการเสริมแรง ป้องกันการพังทลายของดินในพื้นที่ลาดชันได้

คอกหมูหลุม…แบบหมู หมู
คอกหมูหลุม…แบบหมู หมู
บทความงานวิจัย

สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) ได้มีการวิจัยและทดสอบเทคโนโลยีในการเลี้ยงหมูหลุม โดยใช้แนวคิดการเลี้ยงด้วยวิธีเกษตรธรรมชาติ เพื่อให้คนในชุมชนได้ประโยชน์จากการเลี้ยงเพื่อเป็นแหล่งโปรตีน การจำหน่ายหมูเป็นรายได้

"บุก" แต่ไม่รุกป่า
บทความงานวิจัย

เกษตรกรมีรายได้จากการปลูกบุก ในขณะเดียวกันไม่เข้าไปบุกรุกพื้นที่ป่าเพื่อทำการเกษตรเชิงเดี่ยว แต่กลับทำให้มีพื้นที่ป่า/พื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้นอีกทางหนึ่งด้วย ทำให้ “คนบนพื้นที่สูงอยู่กับป่าได้อย่างเกื้อกูล สมดุล มั่นคง และยั่งยืน”


ทั้งหมด 148 รายการ