งานพัฒนาบนพื้นที่สูง

สวพส.ถ่ายทอด“ระบบเกษตรอัจฉริยะ” พลิกโฉมเกษตรกรบนพื้นที่สูง
สวพส.ถ่ายทอด“ระบบเกษตรอัจฉริยะ” พลิกโฉมเกษตรกรบนพื้นที่สูง
บทความงานพัฒนาพื้นที่สูง

สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) มีเป้าหมายในการพัฒนาชุมชนบนพื้นที่สูง ขยายองค์ความรู้ของโครงการหลวงในการวิจัยและพัฒนา โดยการทำการเกษตรแบบประณีตอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อแก้ไขปัญหาระดับพื้นที่ นอกจากนั้นสถาบันให้ความสำคัญในการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลและการบริหารจัดการข้อมูลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการองค์กรมาใช้ในการพัฒนาเกษตรบนพื้นที่สูง

ปรับ-น่าน-เปลี่ยน จากแผนชุมชนสู่ชุมชนปลอดขยะ (Zero waste)
ปรับ-น่าน-เปลี่ยน จากแผนชุมชนสู่ชุมชนปลอดขยะ (Zero waste)
บทความงานพัฒนาพื้นที่สูง

การจัดการแก้ไขปัญหาขยะ บ้านศรีบุญเรือง อำเภอสันติสุข จังหวัดน่าน

วิสาหกิจชุมชนบ้านปางแดงใน งานหัตถกรรมที่ไม่ได้มีดีแค่ความงาม
วิสาหกิจชุมชนบ้านปางแดงใน งานหัตถกรรมที่ไม่ได้มีดีแค่ความงาม
บทความงานพัฒนาพื้นที่สูง

กลุ่มวิสาหกิจชุมชนหัตถกรรมย้อมสีธรรมชาติบ้านปางแดงใน เกิดจากการรวมกันของผู้หญิงในหมู่บ้าน ปางแดงในจำนวน 33 คน ที่ใช้เวลาว่างจากการทำเกษตรกรรมมาร่วมกันทอผ้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์ออกจำหน่าย เช่น เสื้อคลุมดาราอั้ง กระเป๋าย่าม ผ้าพันคอ หมวก และอื่นๆ โดยกระบวนการกลุ่มคณะกรรมการจำนวน 8 คน เป็นผู้ที่คอยขับเคลื่อนและดำเนินกิจกรรมของกลุ่ม ตั้งแต่การจัดหาวัสดุ วัตถุดิบในการย้อมสี การทอผ้า การตลาดและการจำหน่าย จนถึงการส่งสินค้าให้กับผู้ซื้อ

ศูนย์ฯโหล่วงขอด กลยุทธ์จัดการทรัพยากรป่าไม้บนพื้นที่สูงแบบมีส่วนร่วม
ศูนย์ฯโหล่วงขอด กลยุทธ์จัดการทรัพยากรป่าไม้บนพื้นที่สูงแบบมีส่วนร่วม
บทความงานพัฒนาพื้นที่สูง

ชุมชนมีการพัฒนาด้านต่างๆ สามารถเปลี่ยนแปลงปรับระบบการปลูกพืชที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เป็นระบบวนเกษตร และป่าสร้างรายได้ในพื้นที่ทำกิน มีการคืนพื้นที่ป่าให้กับประเทศ จำนวน 487 ไร่ รวมทั้งมีส่วนร่วมในการดำเนินกิจกรรมอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้โดยรอบชุมชน 16,672 ไร่

ปางหินฝน ชุมชนต้นแบบการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว มาตรฐาน GMP
ปางหินฝน ชุมชนต้นแบบการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว มาตรฐาน GMP
บทความงานพัฒนาพื้นที่สูง

สหกรณ์โครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวงปางหินฝน จำกัด เป็นต้นแบบที่ดีในการบริหารจัดการโดยเกษตรกร ครบวงจรตั้งแต่กระบวนการวางแผนการผลิต จนถึงการส่งสินค้าให้กับลูกค้า ถือเป็นสหกรณ์ที่เข้มข้น สามารถเป็นต้นแบบการศึกษาเรียนรู้ให้แก่ผู้ที่สนใจได้

ระบบเกษตรแบบประณีตปลอดภัย ทำน้อยได้มาก
ระบบเกษตรแบบประณีตปลอดภัย ทำน้อยได้มาก
บทความงานพัฒนาพื้นที่สูง

ปัจจุบัน การนำเทคโนโลยีการผลิตพืชผักและองุ่นภายใต้โรงเรือนแบบโครงการหลวงมาถ่ายทอดและเสริมเสริมแก่เกษตรกร เป็นต้นแบบการพัฒนาอาชีพแก่ชุมชนบนพื้นที่สูงอีกรูปแบบหนึ่งที่สามารถตอบโจทย์ด้านรายได้เป็นอย่างดี

กาแฟ (ห้วยโทน) สวมหมวกบนยอดดอย
กาแฟ (ห้วยโทน) สวมหมวกบนยอดดอย
บทความงานพัฒนาพื้นที่สูง

ในเขตพื้นที่อำเภอบ่อเกลือประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวเขา ชนเผ่าลั๊วะ ประกอบอาชีพทำข้าวไร่และหาของป่าเพื่อเลี้ยงชีพ

แม่จริม...ชุมชนตัวอย่างการจัดการด้านการตลาดโดยสถาบันเกษตรกร
แม่จริม...ชุมชนตัวอย่างการจัดการด้านการตลาดโดยสถาบันเกษตรกร
บทความงานพัฒนาพื้นที่สูง

ปัจจุบันกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผักปลอดภัยแม่จริม มีการบริหารและขับเคลื่อนงานโดยคณะกรรมการที่ได้รับการเลือกตั้งจากสมาชิก โดยได้รับคำแนะนำเรื่องการบริหารจัดการและการดำเนินงานจากนักวิชาการประจำพื้นที่ เจ้าหน้าที่ส่งเสริมและนักวิชาการรายสาขาของสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง คอยเป็นพี่เลี้ยงในการติดตามให้คำแนะนำ โดยการนำองค์ความรู้จากโครงการหลวงมาปรับใช้ นำผลการศึกษาเรื่องการจำหน่ายและการบริโภคพืชผักภายในจังหวัดน่าน

“สถาบันเกษตรกรของชุมชนที่เข้มแข็งและช่วยเหลือชุมชนให้พึ่งพาตนเองได้”
“สถาบันเกษตรกรของชุมชนที่เข้มแข็งและช่วยเหลือชุมชนให้พึ่งพาตนเองได้”
บทความงานพัฒนาพื้นที่สูง

การดำเนินงานภายใต้การบริหารของคณะกรรมการสหกรณ์ นับได้ว่ามีความเข้มแข็งและประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี ช่วยแก้ไขความเดือดร้อนให้กับคนในชุมชนทำให้รายได้เพิ่มขึ้นและมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น สามารถแก้ปัญหาเรื่องพ่อค้าคนกลางที่เอาเปรียบเรื่องราคารับซื้อผลผลิตเนื่องจากสหกรณ์ฯเป็นผู้รวบรวมผลผลิตทั้งหมดในพื้นที่ จึงช่วยให้สมาชิกมีอำนาจในการต่อรองราคาผลผลิตให้ได้ราคาที่สูงขึ้น

แก้วิกฤติภัยแล้งบนดอยสูง…ด้วยความร่วมมือของทุกภาคส่วน
แก้วิกฤติภัยแล้งบนดอยสูง…ด้วยความร่วมมือของทุกภาคส่วน
บทความงานพัฒนาพื้นที่สูง

สถาบันจึงจัดทำ “โครงการพัฒนาแหล่งน้ำและระบบกระจายน้ำขนาดเล็ก เพื่อแก้ไขปัญหาภัยแล้ง” เพื่อช่วยบรรเทาปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนในพื้นที่ในระดับชุมชน โดยน้อมนำแนวพระราชดำริ ด้านการบริหารจัดการน้ำ ประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใช้แผนที่ดินรายแปลงเป็นเครื่องมือในการวางแผนพัฒนาแหล่งน้ำให้ตรงกับความต้องการของชุมชน


ทั้งหมด 23 รายการ