กาแฟของพ่อ....สู่การพัฒนาพื้นที่สูงอย่างยั่งยืน
การเสด็จทอดพระเนตรสวนกาแฟของเกษตรกรบ้านหนองหล่ม ดอยอินทนนท์ ด้วยพระบาทในพื้นที่ยากลำบากนั้น ทรงรับสั่งว่า “คุ้มที่ทรงเหนื่อยเพราะชาวบ้านดีใจที่เสด็จฯ และทำให้เขาเชื่อว่ากาแฟนี้ดี ควรปลูก ข้อที่สำคัญขึ้นไปอีกก็คือ ทางราชการให้การสนับสนุนอย่างเข้มแข็งขึ้งไปอีก จนทำให้โครงการหลวงมีเมล็ดพันธุ์กาแฟอะราบิก้าซึ่งโครงการใดๆ ก็ตามในประเทศไทย จำต้องนำเอาไปใช้ ถ้าจะให้ปลูกได้สำเร็จ”
(บทพระราชนิพนธ์ของหม่อมเจ้าภีศเดช รัชนี จากหนังสือพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและโครงการหลวง)
เก็บเกี่ยวกาแฟ
เก็บเกี่ยวกาแฟ
กาแฟโครงการหลวง 100% Arabica Coffee

ความสำคัญของกาแฟอราบิก้า


ระดับความสูงของพื้นที่เพาะปลูกมีผลต่อรสชาติกาแฟ


แหล่งน้ำ : อาศัยน้ำฝนจากธรรมชาติ ปริมาณน้ำฝนไม่ต่ำกว่า 1,500 มิลลิเมตรต่อปี มีการกระจายของฝน 5 - 8 เดือน มีแหล่งน้ำสะอาดและมีปริมาณพอที่จะให้น้ำได้ตลอดช่วงฤดูแล้ง
ความสำเร็จของกาแฟอาราบิก้า

- พื้นที่ปลูก 22 ศูนย์ 8,820 ไร่ เกษตรกร 1,598 ราย ระบบ GAP
- ผลผลิตกาแฟกะลาปีละ 800 ตัน มูลค่าเงินคืนเกษตรกร ปีละ 90 ล้านบาท

- พื้นที่ปลูก 22 ศูนย์ 5,624 ไร่ เกษตรกร 2,345 คน ได้รับการรับรองมาตรฐาน
- GAP: พื้นที่ 2,567.73 ไร่
- Organic: พื้นที่ 332.97 ไร่
- ผลผลิตกาแฟกะลาปีละ 757.6 ตัน รายได้เกษตรกร 38 ล้านบาทต่อปี (ปี 2562)
(อ้างอิง: โครงการคัดเลือกสายพันธุ์และพัฒนาเทคโนโลยีการเพิ่มคุณภาพของผลผลิตกาแฟอราบิก้าโครงการหลวง, สำนักวิจัย: 2562)
การวิจัยและพัฒนากาแฟอาราบิก้าเพื่อสนับสนุนโครงการหลวง








ความสำเร็จจากการนำองค์ความรู้ด้านกาแฟคุณภาพไปสู่ชุมชนบนพื้นที่สูง



- 8,820 ไร่, เกษตรกร 1,598 ราย ระบบ GAP, เกษตรกร 1,519 ราย พื้นที่ 8,461.3 ไร่ กาแฟกะลาปีละ 500-800 ตัน มูลค่าเงินคืนเกษตรกร ปีละ 90 ล้านบาท

(อ้างอิง: โครงการคัดเลือกสายพันธุ์และพัฒนาเทคโนโลยีการเพิ่มคุณภาพของผลผลิตกาแฟอราบิก้าโครงการหลวง, สำนักวิจัย: 2562)

(นักวิชาการ, สำนักวิจัย, สวพส.)
(เจ้าหน้าที่โครงการ, สำนักวิจัย, สวพส.)
(เกษตรกร, ศูนย์แม่สลอง, สวพส.)